บ้านเย็น ประหยัดพลังงาน

บ้านเย็น ประหยัดพลังงาน

บ้านเย็น ประหยัดพลังงาน

บ้านเย็น ประหยัดพลังงาน บ้านและสวน ร้อน ร้อน เบื่อจริงๆอากาศในประเทศไทย การปรับเปลี่ยนบ้านร้อน ให้กลายเป็นบ้านเย็น ยิ่งขึ้น ผ่านการเลือกใช้วัสดุก่อสร้าง ที่เหมาะสม และสร้าง VillasPhuket  กระบวนการหมุนเวียน อากาศภายใน บ้าน เพื่อให้บ้านพร้อม รับมือกับสภาพอุณหภูมิเมืองไทยที่ทวีความร้อนขึ้นทุกปีphuket property

บ้านเย็น ประหยัดพลังงาน

มาเลือกวัสดุก่อสร้างให้บ้านเย็น และประหยัดพลังงานด้วย

โดยสิ่งแรกที่เป็นเกราะชั้นบนสุดของบ้าน คือ หลังคา ซึ่งเมื่อก่อน กระเบื้องหลังคา ที่สามารถสะท้อน ความร้อนได้ดี จะต้องเป็นกระเบื้องหลังคา สีอ่อนเท่านั้น แต่ในปัจจุบัน เจ้าของบ้าน ที่ชื่นชอบหลังคา เฉดสีเข้ม

ก็มีนวัตกรรม ที่สามารถสะท้อน ความร้อนได้ดี ทำให้บ้านเย็นลง ช่วยให้สามารถ เลือกใช้กระเบื้องหลังคา สีเข้มได้ โดยไม่ต้องกลัวบ้านร้อน อีกต่อไป เนื่องจาก มีนวัตกรรมโมเลกุลเม็ดสีสูตรพิเศษ ที่ทำให้สามารถ สะท้อนความร้อนได้ดี แม้จะเป็นกระเบื้อง หลังคาสีเข้มก็ตาม บทความทั่วไป

ลำดับถัดมาจะเป็น ฝ้าเพดาน ควรติดตั้ง ฉนวนกันความร้อน เพื่อให้เป็นเกราะ ชั้นที่สอง ที่จะเป็นตัวช่วย ป้องกันความร้อน ที่หลงเหลือลงมาจาก กระเบื้องหลังคา 

นอกจากนี้ ผนัง ก็เป็นอีกส่วน ที่สามารถป้องกัน ความร้อนได้ ทำให้บ้านเย็นเช่นกัน โดยอาจเป็นการซ่อนฉนวน กันความร้อน ไว้ในผนัง รวมถึงการเลือกใช้ ไม้ฝาที่มีคุณสมบัติ สะท้อนรังสีความร้อน และ ป้องกันความร้อนได้   วิลล่าภูเก็ต

เมื่อเลือกใช้วัสดุก่อสร้าง ที่เหมาะสม เพื่อป้องกันความร้อน จากภายนอก ของบ้านแล้ว อันดับต่อมา เจ้าของบ้าน ควรใส่ใจถึง การเปิดเส้นทาง หมุนเวียนอากาศ ภายในบ้าน เพื่อระบายความร้อน โดยปกติ บ้านทุกหลัง จะต้องมีหน้าต่าง เป็นส่วนประกอบ ของบ้าน ซึ่งหน้าที่หลัก ของหน้าต่าง คือ การช่วยระบายอากาศ เข้า-ออก Villas Phuket  เพื่อหมุนเวียน อากาศภายในบ้าน แต่เมื่อผู้อยู่อาศัย จำเป็นต้องปิดหน้าต่าง หรือ อยู่ในบ้าน ที่มีหน้าต่างน้อย อาจทำให้อากาศ ไม่สามารถหมุนเวียน จึงทำให้บ้าน ร้อนอบอ้าว และ รู้สึกไม่สบายตัว

ฉะนั้นสิ่งแรก ที่บ้านควรมี คือ ช่องสำหรับ เปิดรับอากาศ ที่ดีเข้าบ้าน ที่จะช่วยนำ อากาศใหม่ๆ เข้าสู่ตัวบ้าน ได้ตลอดเวลา โดยควรติดตั้งหน้าต่าง หรือช่องใน ด้านทิศใต้ ซึ่งจะเป็นทิศ ที่ลมพัดผ่าน ทำให้สามารถ ระบายอากาศ ได้เกือบตลอดทั้งปี หรือติดตั้ง ในทิศทางที่มีบริเวณ ที่ลมเย็นพัดผ่าน เช่น ด้านที่หัน เข้าหาสวนบริเวณบ้าน ต้นไม้ หรือแหล่งน้ำ เพื่อให้ได้ อากาศที่ดี และ สดชื่นที่สุด 

  หากเป็นไปได้ ควรติดตั้งบริเวณ ที่สามารถเปิดไว้ตลอดได้ เพื่อที่เวลา ผู้อยู่อาศัย ไม่อยู่บ้านแล้ว ต้องปิดประตูหน้าต่าง ทั้งหมด หรือ บ้านที่มี ประตูหน้าต่างน้อย ก็จะทำให้อากาศ ภายในบ้าน สามารถหมุนเวียน ระบายความร้อนได้ดี ไม่ร้อนอบอ้าว จนเกินไป 

 เมื่อนำอากาศใหม่ๆ เข้ามาในบ้านแล้ว การระบายความร้อน ออกจากตัวบ้าน ก็เป็นสิ่งต่อมา ที่สำคัญไม่แพ้กัน เพราะโดยธรรมชาติของอากาศร้อน จะลอยขึ้นสู่ที่สูง ฉะนั้น เมื่อเติมอากาศเย็น เข้ามาในบ้าน ผ่านทางหน้าต่าง หรือช่องลม อากาศร้อนภายในบ้าน

จะถูกผลักดัน ให้ลอยไปยัง บริเวณฝ้าเพดาน และ จะแทรกตัว เข้าตามรอยต่อ ของฝ้าออก ไปยังโถงหลังคา แล้วค่อยๆ ออกไปจากบ้านตามช่อง หรือฝ้าชายคา เพราะฉะนั้น หากติดตั้งช่องระบายอากาศ บริเวณฝ้าและหลังคา ก็จะช่วยเร่งกลไก ในการระบายความร้อนได้ดีและรวดเร็วกว่า  บ้านและสวน

  เมื่อใช้ทั้งสององค์ประกอบร่วมกันจะทำให้บ้านสามารถหมุนเวียนอากาศได้ตลอดเวลา แม้จะปิดบ้านไว้ทั้งวันตัวบ้านจึงไม่ร้อนอบอ้าวหรืออับชื้น ผู้อยู่อาศัยจะรู้สึกปลอดโปร่ง ไม่เพียงเท่านั้นยังช่วยเพิ่มอากาศใหม่ที่บริสุทธิ์สดชื่น ลดกลิ่นเหม็นอับไม่พึงประสงค์ ลดเชื้อโรค และ ช่วยลดความเสี่ยง ในการเกิด อาการภูมิแพ้ ที่เกิดจากไรฝุ่นได้อีกด้วย   วิลล่าภูเก็ต

ย่างไรก็ตามนอกจาก ให้ความสำคัญ กับการปรับลด ความร้อนภายในบ้าน ให้กลายเป็น บ้านเย็นแล้ว เราควรใส่ใจ เรื่องสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ช่วยลดโลกร้อน ด้วยการปรับแต่งบ้าน ให้เป็นบ้านประหยัดพลังงาน โดยการเลือกใช้ พลังงานสะอาด จากโซล่าร์เซล  หรือ แผงผลิตไฟฟ้า จากพลังงานแสงอาทิตย์(Solar Panel) ช่วยกันเพิ่ม พื้นที่สีเขียว บริเวณรอบๆ บ้านด้วยการปลูกต้นไม้ เพื่อบ้านของเรา จะได้น่าอยู่ และ ร่มเย็นอย่างยั่งยืน และประหยัดไฟ

บ้านเย็น ประหยัดพลังงาน

เคล็ดลับที่น่าสนใจช่วยให้บ้านเย็น

อากาศเมืองไทยร้อนมากช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน หันไปทางไหน ก็มีแต่ความร้อน อยู่รายรอบตัว หลายคนจึง หันมาเปิดแอร์และหันไปเดิน ห้างสรรพสินค้าแทน บ้านและสวน แต่ปัญหาเหล่านั้น จะหมดไปเพราะ เรามีเคล็ดลับ ในการทำบ้าน ให้เย็นลง ด้วยวิธีง่ายๆ โดยไม่ต้องสิ้นเปลืองพลังงาน และ ยังเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย  

1. ทาสีบ้านโทนเย็น 

2. ปลูกต้นไม้ 

3. ถอดปลั๊กไฟเมื่อไม่ใช้งาน 

4. ไม่ควรวางสิ่งของใกล้เครื่องปรับอากาศ 

5. แสงไฟและแสงธรรมชาติ 

6. อย่าบังทางลม 

7. หลังคาสีเขียว 

8. ทำกันสาดบังแดดข้างหน้าต่าง 

9. ปลูกไม้เลื้อย 

การที่จะทำให้บ้านเรา เย็นสบาย ควรคำนึงถึง การประหยัดพลังงาน ด้วยวิธีธรรมชาติ ที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม โดยการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อลดอุณหภูมิ ภายในบ้าน และ จัดเฟอร์นิเจอร์ ให้ลมพัดเข้ามา ภายในบ้านได้สะดวก บางส่วน ของตัวบ้าน อาจจะเพิ่มความสว่างในตัวบ้าน และ ทำให้บ้านเย็นสบาย น่าอยู่มากยิ่งขึ้น 

บ้านเย็น ประหยัดพลังงาน

มาทำให้บ้านเย็นด้วยวิธีเหล่านี้กันเถอะ แถมยังประหยัดพลังานอีกด้วย

  • ติดกันสาด ด้านที่โดนแดดประจำ แนะนำให้ใช้วัสดุ ที่ไม่สะสมความร้อน เช่น ไม้ ที่ทำเป็นระแนง เพื่อตกแต่ง หรือบังแดด
  • เปิดหน้าต่างบ้างในช่วงกลางวัน ให้อากาศ และ ลม จากภายนอก พัดเข้ามาในตัวบ้าน
  • หาต้นไม้มาปลูกในบริเวณบ้าน หรือถ้าเป็นห้องในคอนโด ก็ซื้อต้นไม้มาไว้ตรงระเบียง นอกจาก ความสดชื่นแล้ว ยังทำให้บรรยากาศ ภายในห้องดูดีขึ้นด้วย
  • เปิดประตูห้องน้ำและห้องนอน ไว้เสมอ เป็นการทำให้อากาศ ภายในบ้าน ถ่ายเทได้ดีขึ้น
  • เปลี่ยนผ้าปูที่นอน ถ้าเป็นสีทึบ บ้านและสวน ให้ใช้เป็นสีโทนสว่างแทน เพื่อให้ห้องดู โปร่งโล่งสบายขึ้น 
  • ดื่มน้ำเย็นจากถังน้ำหรือโถน้ำ ที่ใส่น้ำแข็ง แทนการ เปิดปิดตู้เย็นบ่อยๆ เพื่อหยิบขวดน้ำ
  • ทำความสะอาดฟิลเตอร์แอร์ เป็นประจำ ช่วยให้เครื่องปรับอากาศ ไม่ทำงานหนักเกินไป
  • ใช้หลอดไฟ LED แทนหลอดไปธรรมดา ลดความร้อนจากแสงได้ แถมประหยัดพลังงาน
  • ไม่ควรนำเครื่องใช้ไฟฟ้าอื่นๆ มาตั้งหรือใช้ในบริเวณที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เพราะจะทำให้ เครื่องปรับอากาศ ทำงานหนัก

ความร้อนในบ้านส่วนใหญ่มักมาจากแสงแดดที่ส่งผ่านมาทางหลังคาและฝ้าเพดาน ตลอดจนผนังบ้าน การลดความร้อนให้บ้านอาจเริ่มด้วยวิธีง่ายๆ ลองปรับเปลี่ยน เพิ่มเติม เพื่อให้ บ้าน ของเราเย็นสบาย และ ประหยัดพลังานด้วย วิลล่าภูเก็ต 

อ่านบทความที่น่าสนใจถัดไป จัดสวนญี่ปุ่นข้างบ้าน รีโนเวทแบบบ้านชั้นเดียว

อ่านข้อมูลเกี่ยวกับบ้านเพิ่มเติม : รีโนเวทบ้าน บ้านและสวน บ้านเเฝด แบบบ้าน ซื้อบ้าน แบบบ้าน Villas Phuket รีวิวบ้าน phuket property บ้านเดี่ยว POOL VILLA บ้านจัดสรร PHUKET VILLA
RENT AND BUY VILLA PHUKET VILLA FOR SELL VILLA FOR RENT SALE VILLA buy villa phuket รีวิวบ้าน ขายวิลล่าภูเก็ต ขายบ้านภูเก็ต ซื้อบ้าน ตกแต่งบ้าน